คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร
แบบทดสอบวิชา ทช33023 เส้นสร้างสรรค์ทุกคนทำได้
1)  ผลงานการวาดภาพลายเส้นแบบเหมือนจริง ต้องอาศัยปัจจัยในข้อใดที่สำคัญในการร่างภาพ
  วิธีร่างภาพแบบเบา ๆ นุ่มนวล
  โครงสร้างของภาพที่ถูกสัดส่วน
  เครื่องมือและวัสดุที่มีคุณภาพสูง
  น้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงาที่ถูกต้อง
   
2)  เหตุผลในข้อใดที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้ฝึกวาดภาพจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ การให้น้ำหนักอ
  เพราะรูปทรงอื่น ๆ ไม่เกิดน้ำหนักอ่อนแก่ ของแสงและเงาที่ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ และฝึกทักษะ
  เพราะน้ำหนักอ่อนแก่ของแสงและเงาจะ เกิดบนวัตถุทรงกลมเท่านั้นที่เรียนรู้และ ฝึกทักษะได้
  เพราะแสงและเงาที่มากระทบวัตถุทรงกลม ผิวเรียบมัน มีความเหมือนกับวัตถุต่าง ๆ ในธรรมชาติ
  เพราะแสงและเงาที่มากระทบวัตถุทรงกลม ทำให้แสงและเงาทุกระดับง่ายต่อการเรียนรู้ และฝึกทักษะ
   
3)  ข้อใดแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง รูปร่างกับรูปทรงได้ชัดเจนที่สุด
  มิติ
  สีสัน
  ขนาด
  ความจุ
   
4)  สิ่งแรกในการมองรูปทรงของหุ่นนิ่งเพื่อช่วย กำหนด ขนาด สัดส่วน รูปร่าง รูปทรง ได้ง่าย คือการมอง รู
  มองให้เป็นรูปทรงเรขาคณิต
  มองเป็นพื้นระนาบที่แบนราบ
  มองให้เหมือนธรรมชาติมากที่สุด
  มองให้เห็นโครงสร้างภายในของรูปทรงวัตถุ ที่วาด
   
5)  เส้นในลักษณะใดที่ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวและ คลี่คลายไม่มีที่สิ้นสุด
  เส้นคด
  เส้นโค้งก้นหอย
  เส้นโค้งกลับหลัง
  เส้นสลับฟันปลา
   
6)  ข้อใดคือความหมายของแสง
  ค่าความอ่อนของแสง
  บริเวณที่แสงไม่ถูกกระทบ
  บริเวณที่สว่างที่แสงตกกระทบ
  ความเข้มข้นและความกว้างของแสง
   
7)  ข้อใดเป็นการวาดภาพที่ถ่ายทอด รูปทรง ขนาด แสง และเงา ตามที่ตามองเห็นจริง
  การวาดภาพแบบเรียลิสติก (Realisti)
  การวาดภาพแบบแอ๊สแตรก (Abstract)
  การวาดภาพแบบไอเดียริสซึ่ม (Idealism)
  การวาดภาพแบบเซมิแอ๊ปสแตรก (Semi – Abstract
   
8)  ข้อใดไม่เข้ากลุ่มกับการจัดภาพให้เป็น เอกภาพ (Unity)
  จัดภาพแบบทับซ้อนกัน
  จัดภาพแบบใช้เส้นรอบนอก
  จัดภาพแบบซ้าย – ขวา เหมือนกัน
  จัดภาพแบบใช้เส้นเชื่อมระหว่างภาพ รูปทรง 2- 3 ทรงเข้าด้วยกัน
   
9)  ภาพที่ดูแล้วรู้สึกว่า มีระยะ มีความลึกลงไปใน ระยะกลาง และระยะหลังในการวาด เรียกภาพ ลักษณะนี้ว่าภาพ
  ภาพลวงใจ
  ภาพลวงจิต
  ภาพลวงตา
  ภาพใต้สำนึก
   
10)  “วัตถุขนาดเท่ากันมีหลายชิ้น แต่วางในจุด ต่างกันทำให้มองเห็นวัตถุมีขนาดใหญ่กว่าใน จุดระยะหน้าและมอง
  หลักทัศนียภาพวิทยา
  หลักทัศนศึกษาในการรับรู้
  หลักทัศนศึกษาในการจัดวาง
  หลักทัศนศึกษาในการมองเห็น