English
Chinese
Russian
French
Spanish
Read Mail
Read Later
Mark all Read
นายอินทนนท์ แก้วทอง
Edit Profile
My Inbox
Task
Chats
Logout
EDUKPPNFE
แบบเรียนออนไลน์
ผลการเรียนออนไลน์
ตารางสอบออนไลน์
คลังข้อสอบออนไลน์
คลิปการสอน
แหล่งเรียนรู้ชุมชน
ETV_Online
เข้าสู่ระบบ
แบบเรียน
ผลการเรียน
ตารางสอบ
คลิปการสอน
แบบทดสอบ
คลังข้อสอบออนไลน์
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคลองขลุง
จังหวัดกำแพงเพชร
แบบทดสอบวิชา สค33035 อยู่ดีมีสุขกับชีวิตพอเพียง
1)
ในด้านชีวิตครอบครัว สัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัว เกณฑ์ที่ใช้วัดในข้อใดที่จะต้องมีอัตราต่ำที่สุด
การหย่าร้าง
สัดส่วนของครอบครัว
การจดทะเบียนสมรส
รายได้ของแต่ละครัวเรือน
2)
เป้าหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ
มีชีวิตและสังคมอยู่ดีกินดี
พออยู่พอกินพึ่งพาตนเองได้
การพึ่งพาตนเองได้ของชุมชน
เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
3)
ปัจจัยในด้านใดที่สำคัญที่สุดในการยกระดับความอยู่ดีมีสุขของคนไทย
ด้านการเงิน
ด้านสุขภาพ
ด้านความรู้
ด้านการงาน
4)
ความอยู่ดีมีสุขทางนามธรรม หมายถึงข้อใด
การมีเสื้อผ้าที่สวยงามไว้สวมใส่
การแสวงหาความสุขของแต่ละบุคคล
การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขตามอัตภาพ
การมีทรัพย์สินเงินทองเหลือกินเหลือใช้
5)
ข้อใดหมายถึงการอยู่ดีมีสุข
การมีชีวิตที่ดีและสงบสุข
การมีชีวิตที่ดีและมีฐานะร่ำรวย
การมีชีวิตที่ดีและการดำเนินชีวิตที่ดี
การมีชีวิตที่ดีและการมีอาชีพที่มั่นคง
6)
การเติบโตทางเศรษฐกิจมีความสำคัญต่อความอยู่ดีมีสุขอย่างไร
ช่วยให้ประชาชนสามารถแสวงหาความรู้
ช่วยให้ประชาชนสามารถเป็นเจ้าของสินค้าและบริการต่าง ๆ
ช่วยให้ประชาชนสามารถซื้อสิ่งของตามความต้องการและมีราคาแพง
ช่วยให้ประชาชนสามารถแสวงหาสิ่งของเพื่อสนองความต้องการของตน
7)
การสร้างภูมิคุ้มกันให้ครัวเรือนมีเป้าหมายเพื่ออะไร
สร้างอนาคต ลดรายจ่ายฟุ่มเฟือย
ออมเงินไว้เมื่อจำเป็น เพิ่มทรัพยากร
ฝึกทักษะอาชีพ ดำรงตนตามคำสอนที่ดี
สืบทอดประเพณีที่ดีงาม ครอบครัวดีมีสุข
8)
เงื่อนไขในการดำเนินวิถีแบบเศรษฐกิจพอเพียงมีอะไรบ้าง
ความรู้และคุณธรรม
ความพอดีและความพอเพียง
ความรู้และความพอประมาณ
ความรู้ ความพอเพียง และคุณธรรม
9)
เครื่องชี้วัดทางด้าน ปัจจัย ที่ช่วยเสริมสร้างหรือยกระดับความอยู่ดีมีสุข คือข้อใด
สิทธิ
สุขภาพ
รายได้เฉลี่ย
การรู้หนังสือ
10)
สถาบันพื้นฐานทางสังคมที่มีความสำคัญต่อคนในการดำรงชีวิต จัดอยู่ในองค์ประกอบใด
ด้านสุขภาพอนามัย
ด้านชีวิตและครอบครัว
ด้านรายได้และการกระจายรายได้
ด้านสภาพแวดล้อมในการดำเนินชีวิต
ส่งคำตอบ