คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร
แบบทดสอบวิชา สค22019 การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 2
1)  หน่วยที่ใช้วัดการสั่นสะเทือนในการเกิดแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร
  แรงม้า
  เดซิเบล
  ริกเตอร์
  กำลังวัตต์
   
2)  ภัยธรรมชาติในข้อใดที่จะเกิดต่อเนื่อง หลังจากมีสถานการณ์ภัยแล้ง
  ไฟป่า
  น้ำท่วม
  ดินถล่ม
  แผ่นดินไหว
   
3)  การให้ความช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่เมื่อเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใด
  สำนักงานเกษตรจังหวัด
  ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
  สำนักเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อ
  ศูนย์ป้องกันและบรรเทาอุบัติเหตุอุบัติภัย
   
4)  ข้อใดเป็นผลเสียของไฟป่าที่มีต่อสังคมพืช
  โครงสร้างของป่าเปลี่ยนแปลงไป
  เกิดภาวะแห้งแล้ว ขาดแคลนน้ำ
  เกิดสภาวะเรือนกระจก อุณภูมิของโลกสูงขึ้น
  ดินปราศจากแร่ธาตุอาหาร พืชไม่สามารถดำรงชีพ
   
5)  ข้อใดเป็นวิธีการดูแลตนเองขณะเกิดหมอกควัน
  ติดระบบกรองอากาศในบ้าน
  รองน้ำฝนไว้ใช้อุปโภคเมื่อฝนตกทันที
  ควรใช้หน้ากากอนามัยปิดปากและจมูกป้องกันฝุ่นควัน
  ปลูกพืชคลุมหน้าดินไว้เพื่อลดโอกาสที่ฝุ่นละอองฟุ้ง ในอากาศ
   
6)  เพราะเหตุใดประเทศญี่ปุ่นจึงเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยครั้ง
  พื้นที่ตั้งเป็นลักษณะหมู่เกาะ
  พื้นที่ตั้งเป็นลักษณะเทือกเขาสูง
  พื้นที่ตั้งอยู่ตามแนวร่องลึกก้นมหาสมุทร
  พื้นที่ตั้งอยู่ในบริเวณวงแหวนแห่งไฟ
   
7)  ระดับการปฏิบัติ “การเตือนภัยน้ำท่วมรุนแรง” ต้องดำเนินการอย่างไร
  ติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิต
  อยู่แต่ในบ้านเรือนไม่ออกไปไหน
  เตรียมแผนและป้องกันน้ำท่วมบ้านเรือน และทรัพย์สินของตนเอง
  เตรียมอพยพนำสัมภาระที่จำเป็นติดตัว ตัดไฟฟ้า ปิดบ้านให้เรียบร้อย
   
8)  ข้อใดคือ สาเหตุการเกิดภัยแล้งที่เกิดจากการกระทำ ของมนุษย์
  การทำลายชั้นโอโซน
  การพุ่งชนของอุกาบาต
  การแปรผันของรังสีดวงอาทิตย์
  การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล
   
9)  “ในช่วงฤดูไฟป่า ตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคมของทุกปี เกิดปัญหาไฟป่าซ้ำ ๆ ผลที่ตามมาคือ ค่าฝุ่นละอองและหมอก
  สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ
  การคมนาคมและสุขภาพอนามัย
  การท่องเที่ยวและการเกษตรกรรม
  สุขภาพอนามัยและการติดต่อสื่อสาร
   
10)  ข้อใดกล่าวถึงพายุ “แฮร์เรียต” ได้ถูกต้อง
  เป็นพายุหมุนเขตร้อน
  เป็นพายุรุนแรงถึงระดับพายุไต้ฝุ่น
  เป็นพายุที่ก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่ำ
  เป็นพายุที่เคลื่อนตัวผ่านฐานเจาะน้ำมันในอ่าวไทย